1. กลุ่มคำสั่งพื้นฐาน ( Ladder Instruction & Output Control)

1.1 การใช้ Load (LD), Load Not (LD NOT)

ตัวอย่างที่ 1

ชุดคำสั่งและการเขียน Ladder Diagram คำสั่ง LD และ LD NOT

1.2 การใช้คำสั่ง AND, AND NOT

 

ตัวอย่างที่ 2

ชุดคำสั่งและการเขียน Ladder Diagram คำสั่ง AND และ AND NOT

1.3 การใช้คำสั่ง OR, OR NOT

 

 

ตัวอย่างที่ 3

ชุดคำสั่งและการเขียน Ladder Diagram คำสั่ง OR และ OR NOT

 

 

1.4 การใช้คำสั่ง OUT, OUT NOT

เป็นคำสั่งที่สั่งขับให้ OUT PUT ภายนอกทำงานหรือไม่ทำงานตามคำสั่ง

ตัวอย่างที่ 4

รูปแบบคำสั่งจาก Ladder Diagram

ตัวอย่างที่ 5

จงเขียนชุดคำสั่งจาก Ladder Diagram

1.5 การใช้คำสั่ง END (FUN 01)

          การเขียนคำสั่งทุกครั้ง เมื่อสิ้นสุดการเขียนโปรแกรมแล้วจะต้องจบด้วยคำสั่ง END (01) เสมอ ถ้าไม่มีคำสั่งนี้ เมื่อผู้ใช้สั่ง RUN โปรแกรมที่เขียนขึ้น PLC จะ Error โดยสังเกตที่ PLC ไฟ Error/Alarm สีแดงจะติดค้าง และจะมีข้อความ “NO END INTS” ปรากฏอยู่ที่หน้าจอ LCD นั่นหมายความว่าไม่มีคำสั่ง END (01)

          ในกรณีนี้โปรแกรมจะไม่สามารถ RUN ได้เพราะฉะนั้นเมื่อเขียนโปรแกรมจบทุกครั้งควรใส่คำสั่ง END (01) ด้วย

 

ตัวอย่างที่ 6

ทดลองป้อนโปรแกรมให้กับ PLC โดยมีคำสั่ง END (01)

หมายเหตุ การเรียนคำสั่งบางคำสั่งด้วยการกำหนดจากหมายเลขฟังชั่น Function (FUN)

1.6 การใช้คำสั่ง AND LOAD (AND LD), OR LOAD (OR LD)

          คำสั่งทั้งสองจะทำหน้าที่เชื่อมต่อกลุ่ม Ladder Diagram ในกรณีที่ต่ออนุกรม หรือขนานกันมากกว่า 1 หน้าสัมผัส ซึ่งการใช้คำสั่ง AND หรือ OR นั้น จะกระทำทีละ 1 หน้าสัมผัสเท่านั้น จึงต้องใช้ AND LD หรือ OR LD

ในการเขียน Ladder Diagram นั้นไม่มีสัญลักษณ์ของ AND LD หรือ OR LD

ตัวอย่างที่ 7

ชุดคำสั่งในรูปแบบการเชื่อมแบบอนุกรมจะใช้คำสั่ง AND LD

ตัวอย่างที่ 8

ชุดคำสั่งในรูปแบบการเชื่อมแบบขนานจะใช้คำสั่ง OR LD

2. การใช้คำสั่ง TR (Temporary Relay)

          คำสั่งนี้ใช้สำหรับการเขียน Ladder Diagram ที่มีการขับคอยล์เอาต์พุต (OUT Coil) อยู่หลายๆ สาขาโดยที่สาขาหนึ่ง ๆ ประกอบด้วยคำสั่ง TR นี้ โดยที่ Ladder Diagram สามารถแยกสาขาได้ถึง 8 สาขาย่อย (TR0-TR7)

ตัวอย่างที่ 11

ลักษณะ Ladder Diagram ที่ต้องการใช้ TR เข้ามาช่วย

3. คำสั่งที่สามารถเรียกใช้เมื่อกดปุ่ม FUN

          “FUN xx”      เมื่อ xx      คือตัวเลขที่บอกถึงคำสั่งต่าง ๆ ภายในของ PLC เช่น

           FUN 01       หมายถึงคำสั่ง        END (End Instruction)

           FUN 02             ”              IL (Interlock)

           FUN 03             ”              ILC (Interlock Clear)

           FUN 04             ”              JMP (Jump End)

           FUN 05             ”              JME (Jump End)

           FUN 10             ”              SFT (Shift Register)

           FUN 11             ”              KEEP (Latching Relay)

           FUN 12             ”              CNTR (Reversible Counter)

           FUN 13             ”              DIFU (Differentiate-Up)

           FUN 14             ”              DIFD (Differentiate-Down)

การเรียกคำสั่งใดออกมาใช้งาน ถ้าเป็นการเขียนโปรแกรมด้วย Programming Console จำเป็นต้องกดปุ่ม สี่เหลี่ยมมน: FUN   แล้วตามด้วยหมายเลขของคำสั่งนั้น ๆ จึงจะเป็นการเรียกคำสั่งนั้นออกมาใช้งาน