1.
กลุ่มคำสั่งพื้นฐาน (
Ladder Instruction & Output Control)
1.1 การใช้ Load (LD), Load Not (LD NOT)

ตัวอย่างที่ 1
ชุดคำสั่งและการเขียน Ladder Diagram คำสั่ง LD
และ LD NOT

1.2 การใช้คำสั่ง AND, AND NOT
ตัวอย่างที่ 2
ชุดคำสั่งและการเขียน Ladder Diagram คำสั่ง AND
และ AND NOT

1.3 การใช้คำสั่ง OR, OR NOT

ตัวอย่างที่ 3
ชุดคำสั่งและการเขียน Ladder Diagram คำสั่ง OR
และ OR NOT

1.4 การใช้คำสั่ง OUT, OUT NOT
เป็นคำสั่งที่สั่งขับให้ OUT PUT ภายนอกทำงานหรือไม่ทำงานตามคำสั่ง

ตัวอย่างที่ 4
รูปแบบคำสั่งจาก Ladder Diagram

ตัวอย่างที่ 5
จงเขียนชุดคำสั่งจาก Ladder Diagram

1.5 การใช้คำสั่ง END (FUN 01)
การเขียนคำสั่งทุกครั้ง
เมื่อสิ้นสุดการเขียนโปรแกรมแล้วจะต้องจบด้วยคำสั่ง
END (01) เสมอ ถ้าไม่มีคำสั่งนี้ เมื่อผู้ใช้สั่ง
RUN โปรแกรมที่เขียนขึ้น PLC จะ Error โดยสังเกตที่
PLC ไฟ Error/Alarm สีแดงจะติดค้าง และจะมีข้อความ
NO END INTS ปรากฏอยู่ที่หน้าจอ LCD นั่นหมายความว่าไม่มีคำสั่ง
END (01)
ในกรณีนี้โปรแกรมจะไม่สามารถ
RUN ได้เพราะฉะนั้นเมื่อเขียนโปรแกรมจบทุกครั้งควรใส่คำสั่ง
END (01) ด้วย
ตัวอย่างที่ 6
ทดลองป้อนโปรแกรมให้กับ PLC โดยมีคำสั่ง END (01)

หมายเหตุ การเรียนคำสั่งบางคำสั่งด้วยการกำหนดจากหมายเลขฟังชั่น
Function (FUN)
1.6 การใช้คำสั่ง AND LOAD (AND LD), OR LOAD
(OR LD)
คำสั่งทั้งสองจะทำหน้าที่เชื่อมต่อกลุ่ม
Ladder Diagram ในกรณีที่ต่ออนุกรม หรือขนานกันมากกว่า
1 หน้าสัมผัส ซึ่งการใช้คำสั่ง AND หรือ OR นั้น
จะกระทำทีละ 1 หน้าสัมผัสเท่านั้น จึงต้องใช้
AND LD หรือ OR LD
ในการเขียน Ladder Diagram นั้นไม่มีสัญลักษณ์ของ
AND LD หรือ OR LD
ตัวอย่างที่ 7
ชุดคำสั่งในรูปแบบการเชื่อมแบบอนุกรมจะใช้คำสั่ง
AND LD

ตัวอย่างที่
8
ชุดคำสั่งในรูปแบบการเชื่อมแบบขนานจะใช้คำสั่ง
OR LD

2. การใช้คำสั่ง TR (Temporary Relay)
คำสั่งนี้ใช้สำหรับการเขียน
Ladder Diagram ที่มีการขับคอยล์เอาต์พุต (OUT
Coil) อยู่หลายๆ สาขาโดยที่สาขาหนึ่ง ๆ ประกอบด้วยคำสั่ง
TR นี้ โดยที่ Ladder Diagram สามารถแยกสาขาได้ถึง
8 สาขาย่อย (TR0-TR7)
ตัวอย่างที่ 11
ลักษณะ Ladder Diagram ที่ต้องการใช้ TR เข้ามาช่วย

3. คำสั่งที่สามารถเรียกใช้เมื่อกดปุ่ม FUN
FUN
xx เมื่อ xx คือตัวเลขที่บอกถึงคำสั่งต่าง
ๆ ภายในของ PLC เช่น
FUN
01 หมายถึงคำสั่ง
END
(End Instruction)
FUN
02
IL (Interlock)
FUN
03
ILC
(Interlock Clear)
FUN
04
JMP
(Jump End)
FUN
05
JME
(Jump End)
FUN
10
SFT
(Shift Register)
FUN
11
KEEP
(Latching Relay)
FUN
12
CNTR
(Reversible Counter)
FUN
13
DIFU (Differentiate-Up)
FUN
14
DIFD
(Differentiate-Down)
การเรียกคำสั่งใดออกมาใช้งาน ถ้าเป็นการเขียนโปรแกรมด้วย
Programming Console จำเป็นต้องกดปุ่ม
แล้วตามด้วยหมายเลขของคำสั่งนั้น
ๆ จึงจะเป็นการเรียกคำสั่งนั้นออกมาใช้งาน
|